ເຂດທຸ່ງຄຸ
|
ເຂດທຸ່ງຄຸ ຫຼື ເຂດທຸ່ງຄຣຸ (ໄທ: เขตทุ่งครุ) ແມ່ນ 1 ໃນ 50 ເຂດການປົກຄອງຂອງບາງກອກ ຈັດຢູ່ໃນກຸ່ມເຂດກຸງທົນໃຕ້ ສະພາບທົ່ວໄປເປັນແຫຼ່ງທີ່ຢູ່ອາໄສໜາແໜ້ນນ້ອຍແລະໜາແໜ້ນປານກາງ ໂດຍມີພື້ນທີ່ເຮັດການກະເສດເປັນຫຼັກທາງທິດຕາເວັນຕົກສຽງໃຕ້
ບ່ອນຕັ້ງແລະອານາເຂດ
[ດັດແກ້]ຕັ້ງຢູ່ທາງທິດຕາເວັນອອກສຽງໃຕ້ຂອງຝັ່ງທົນບຸລີ ມີອານາເຂດຕິດຕໍ່ກັບພື້ນທີ່ການປົກຄອງຕ່າງໆ ຮຽງຕາມເຂັມໂມງດັງນີ້
- ທິດເໜືອ ຕິດຕໍ່ກັບເຂດຈອມທອງແລະເຂດເຂດລາດບູລະນະ ມີລຳຮາງສາທາລະນະ ຄອງກໍໄຜ່ຂວດ ລຳຮາງສາທາລະນະ ຄອງຕາທຽບ ຄອງລາດບູລະນະ ຄອງຂ້າງໂຮງຮຽນຂະຈອນໂລດ ລຳຮາງສາທາລະນະ ຄອງແຈງຮ້ອນ ແລະລຳຮາງສາທາລະນະເປັນເສັ້ນແບ່ງເຂດ
- ທິດຕາເວັນອອກ ຕິດຕໍ່ກັບອຳເພີພະປະແດງ (ຈັງຫວັດສະໝຸດປາການ) ມີຄອງບາງຜຶ້ງ ລຳຮາງສາທາລະນະ ຄອງຂຸດເຈົ້າເມືອງ ແລະຄອງຮາງໃຫຍ່ເປັນເສັ້ນແບ່ງເຂດ
- ທິດໃຕ້ ຕິດຕໍ່ກັບອຳເພີພະສະໝຸດເຈດີ (ຈັງຫວັດສະໝຸດປາການ) ມີຄອງບາງຈາກ ຄອງກະອອມໃນ ຄອງທ່າກວຽນ ຄອງຕາສົນ ແລະຄອງກະອອມເປັນເສັ້ນແບ່ງເຂດ
- ທິດຕາເວັນຕົກ ຕິດຕໍ່ກັບເຂດບາງຂຸນທຽນ ມີຄອງຮາງແມ່ນ້ຳແລະຄອງບາງມົດເປັນເສັ້ນແບ່ງເຂດ
ที่มาของชื่อเขต
[ດັດແກ້]ความหมายของคำว่า " ทุ่งครุ " ตามพจนานุกรม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530 มิได้ให้ คำจำกัดความของคำว่า " ทุ่งครุ " ไว้เป็นการเฉพาะ แต่ได้ให้คำจำกัดความของคำว่า " ทุ่ง " กับ " ครุ " ไว้ว่า " ทุ่ง " หมายถึง ที่ราบโล่ง " ครุ " หมายถึง ภาชนะสานชนิดหนึ่งใช้ตักน้ำรูปกลมๆ ยาชัน เมื่อนำความหมายของคำจำกัดความทั้งสองมารวมกัน น่าจะหมายถึง " พื้นที่ราบโล่ง ใช้สาน ภาชนะตักน้ำรูปกลมๆ ยาชัน " จากความหมายดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าในอดีตท้องที่เขตทุ่งครุ เป็นที่ราบโล่ง ลุ่ม มีแหล่งน้ำหลายแห่งเหมาะแก่การเพาะปลูก ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกร ทำสวนและมีฝีมือทางการจักสาน
ประวัติ
[ດັດແກ້]เดิมทุ่งครุมีฐานะเป็น ตำบลทุ่งครุ ขึ้นอยู่กับอำเภอราษฎร์บูรณะ จังหวัดธนบุรี ต่อมาอำเภอราษฎร์บูรณะได้ถูกโอนไปขึ้นกับจังหวัดพระประแดงอยู่ช่วงหนึ่ง จนกระทั่งจังหวัดนี้ถูกยุบลงเป็นอำเภอในจังหวัดสมุทรปราการ อำเภอราษฎร์บูรณะรวมทั้งตำบลทุ่งครุจึงกลับมาอยู่ในการปกครองของจังหวัดธนบุรีอีกครั้ง และภายหลังได้มีการยุบรวมจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนการเรียกชื่อตำบลและอำเภอใหม่ด้วย ตำบลทุ่งครุจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงทุ่งครุ ขึ้นกับสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จนกระทั่งวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยจัดตั้ง เขตทุ่งครุ ขึ้น โดยแบ่งพื้นที่ทางทิศใต้ของเขตราษฎร์บูรณะออกมา 2 แขวง
การแบ่งเขตการปกครอง
[ດັດແກ້]ท้องที่สำนักงานเขตทุ่งครุแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง (khwaeng) ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (พฤษภาคม 2560) |
จำนวนบ้าน (พฤษภาคม 2560) |
ความหนาแน่นประชากร (พฤษภาคม 2560) |
---|---|---|---|---|---|
บางมด | Bang Mot | 12.765 |
54,681 |
25,929 |
4,283.66
|
ทุ่งครุ | Thung Khru | 17.976 |
66,609 |
24,631 |
3,705.44
|
ทั้งหมด | 30.741 |
121,290 |
50,560 |
3,945.54
|
ประชากร
[ດັດແກ້]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตทุ่งครุ[2] | ||
---|---|---|
ปี (พ.ศ.) | ประชากร | การเพิ่มและการลด |
2541 | 84,561 | แบ่งเขต |
2542 | 87,609 | +3,048 |
2543 | 90,427 | +2,818 |
2544 | 93,496 | +3,069 |
2545 | 97,164 | +3,668 |
2546 | 101,254 | +4,090 |
2547 | 104,827 | +3,573 |
2548 | 107,609 | +2,782 |
2549 | 110,469 | +2,860 |
2550 | 111,621 | +1,152 |
2551 | 113,008 | +1,387 |
2552 | 114,180 | +1,172 |
2553 | 115,131 | +951 |
2554 | 115,823 | +692 |
2555 | 116,523 | +700 |
2556 | 117,662 | +1,139 |
2557 | 119,349 | +1,687 |
2558 | 120,613 | +1,264 |
2559 | 120,976 | +363 |
การคมนาคม
[ດັດແກ້]ในพื้นที่เขตทุ่งครุมีทางสายหลัก ได้แก่
- ถนนประชาอุทิศ เริ่มต้นเข้าสู่เขตทุ่งครุ จากคลองข้างโรงเรียนขจรโรจน์ แขวงบางมด เนื่องมาจากแขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ และไปสิ้นสุดเขตกรุงเทพมหานครที่คลองบางจาก
- ถนนกาญจนาภิเษก เริ่มต้นเข้าสู่เขตทุ่งครุ จากคลองบางมด แขวงทุ่งครุ เนื่องมาจากแขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน และไปสิ้นสุดเขตกรุงเทพมหานครที่คลองขุดเจ้าเมือง ก่อนจะตัดผ่านเข้าสู่อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ต่อไป
ทางสายรองได้แก่
- ถนนพุทธบูชา
- ถนนครุใน
- ถนนเลียบวงแหวน
- ซอยพุทธบูชา 36
- ซอยประชาอุทิศ 33
- ซอยประชาอุทิศ 69
- ซอยประชาอุทิศ 90
สถานที่สำคัญ
[ດັດແກ້]มหาวิทยาลัย
[ດັດແກ້]โรงเรียน
[ດັດແກ້]- โรงเรียนวัดพุทธบูชา
- อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
- โรงเรียนนาหลวง
- โรงเรียนราษฎร์บูรณะ (มูฮำหมัดอุทิศ)
- โรงเรียนวัดทุ่งครุ (พึ่งสายอนุสรณ์)
วัด
[ດັດແກ້]- วัดทุ่งครุ
- วัดบางมดโสธราราม (กลางนา)
- วัดพุทธบูชา
- วัดหลวงพ่อโอภาสี
อื่น ๆ
[ດັດແກ້]ອ້າງອິງ
[ດັດແກ້]ແຫຼ່ງຂໍ້ມູນອື່ນ
[ດັດແກ້]- ເວັບໄຊຕ໌ສຳນັກງານເຂດທຸ່ງຄຸ
- ແຜນທີ່ເຂດທຸ່ງຄຸ Archived 2007-09-27 at the Wayback Machine
- ↑ สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย,กองปกครองและทะเบียน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. สถิติประชากรและบ้าน - จำนวนประชากรแยกรายอายุ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/. สืบค้น 14 กุมภาพันธ์ 2560.
- ↑ สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "จำนวนประชากรและบ้าน." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html 2556. สืบค้น 3 เมษายน 2556.