Jump to content

ນາຍົກລັດຖະມົນຕີໄທ

ຈາກ ວິກິພີເດຍ
ນາຍົກລັດຖະມົນຕີແຫ່ງລາຊະອານາຈັກໄທ
นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทย
ເຄື່ອງໝາຍປະຈຳຕຳແໜ່ງ
ທຸງປະຈຳຕຳແໜ່ງ
ຜູ້ດຳລົງຕຳແໜ່ງຄົນປັດຈຸບັນ​​​
ແພທອງທານ ຊິນນະວັດ

ຕັ້ງແຕ່ 16 ສິງຫາ ຄ.ສ. 2024
ການຮຽກຂານທ່ານນາຍົກລັດຖະມົນຕີ
(ບໍ່ແມ່ນທາງການ)
ພະນະທ່ານ
(ທາງການ)
ທ່ານຜູ້ນຳ
(ການທູດລະຫວ່າງປະເທດ)
ສະມາຊິກຂອງຄະນະລັດຖະມົນຕີ
ສະພາຄວາມມັ່ນຄົງແຫ່ງຊາດ
ກອງອຳນວຍການຮັກສາຄວາມມັ່ນຄົງພາຍໃນລາຊະອານາຈັກ
ທີ່ພຳນັກບ້ານພິດສະນຸໂລກ​
ທີ່ທຳການທຳນຽບລັດຖະບານ
ຜູ້ສະເໜີຊື່ສະພາຜູ້ແທນລາຊະດອນ
ຜູ້ແຕ່ງຕັ້ງພະມະຫາກະສັດໄທ
ວາລະວາລະ 4 ປີ
(ຮວມກັນບໍ່ເກິນ 8 ປີ)
ກາສານແຕ່ງຕັ້ງລັດຖະທຳມະນູນແຫ່ງລາຊະອານາຈັກສະຫຍາມ
ຕຳແໜ່ງກ່ອນໜ້າປະທານກຳມະການລາຊະດອນ
ຜູ້ປະເດີມຕຳແໜ່ງພະຍາມະໂນປະກອນນິຕິທາດາ​
ສ້າງຕັ້ງ28 ມິຖຸນາ 1932
ຮອງຮອງນາຍົກລັດຖະມົນຕີ
ເງິນເດືອນ​125,590 ບາດ[1][2]
ເວັບໄຊຕ໌thaigov.go.th

ນາຍົກລັດຖະມົນຕີແຫ່ງລາຊະອານາຈັກໄທ (ໄທ: นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทย) ແມ່ນຕຳແໜ່ງຫົວໜ້າລັດຖະບານຂອງປະເທດໄທ ມີຂຶ້ນຫຼັງການປະຕິວັດສະຫຍາມ ພ.ສ. 2475 (1932) ເຊິ່ງປ່ຽນແປງການປົກຄອງສູ່ລາຊາທິປະໄຕພາຍໃຕ້ລັດຖະທຳມະນູນແລະປະຊາທິປະໄຕລະບົບລັດຖະສະພາ

ປະຫວັດ​

[ດັດແກ້]

ຕຳແໜ່ງ​ນາຍົກລັດຖະມົນຕີມີຂຶ້ນພາຍຫລັງ[[ການປະຕິວັດ​ສະຫຍາມ ຄ.​ສ.​ 1932]] ຮຽກວ່າ "ປະທານຄະນະກຳມະການລາດຊະດອນ" ຕາມພະລາດຊະບັນຍັດລັດຖະທຳມະນູນການປົກຄອງແຜ່ນດິນສະຫຍາມຊົ່ວຄາວ ພຸດສັກກະຫຼາດ 2475[3] ແລະພາຍຫລັງພະບາດສົມເດັດພະປົກເກົ້າເຈົ້າຢູ່ຫົວ ຊົງລົງພະປໍຣະມາພິໄທໃນລັດຖະທຳມະນູນແຫ່ງລາຊະອານາຈັກສະຫຍາມ ພຸດສັກກະຫຼາດ 2475 ເມື່ອວັນທີ 10 ທັນວາ ຄ.​ສ.​ 1932 ກະປ່ຽນມາຮຽກ "ນາຍົກລັດຖະມົນຕີ"[4] ໂດຍມີກາປະຈຳສຳນັກນາຍົກລັດຖະມົນຕີແມ່ນກາລາຊະສີຄົດຊະສີຮັກສາລັດຖະທຳມະນູນ ແລະກາປະຈຳຕຳແໜ່ງນາຍົກລັດຖະມົນຕີໄທ

ການດຳລົງ​ຕຳແໜ່ງ​

[ດັດແກ້]

รัฐธรรมนุญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติที่มาของนายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันระบุว่านายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกของสภาผู้แทนราษฎร และมีบทเฉพาะกาลให้วุฒิสภามีชุดแรกตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน (วาระปี 2562–67) ส่วนเลือกนายกรัฐมนตรีด้วย

ຕຳແໜ່ງ​ ຊື່​ ພັກ ໄດ້ຮັບເລືອກໂດຍ ເມື່ອ​ ເລີ່ມຕົ້ນ ຕຳແໜ່ງ​ທີ່​ສອງ
ນາຍົກ​ລັດຖະມົນຕີ
ປະຍຸດ ຈັນໂອຊາ
ອິສະລະ​ ລັດຖະສະພາ​ 5 ມິຖຸນາ ຄ.​ສ.​2019 9 ມິຖຸນາ ຄ.​ສ.2019[5] ລັດຖະມົນຕີ​ວ່າ​ການ​ກະຊວງກະລາໂຫມ

ການປະຕິບັດ​ໜ້າທີ່​

[ດັດແກ້]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ได้กำหนดวาระของนายกรัฐมนตรีว่า นายกรัฐมนตรีจะดำรงตำแหน่งรวมกันแล้วเกินแปดปีมิได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการดำรงตำแหน่งติดต่อกันหรือไม่ แต่มิให้นับรวมระยะเวลาในระหว่างที่อยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปหลังพ้นจากตำแหน่ง"[6]

นายกรัฐมนตรีอาจพ้นจากตำแหน่งเพราะถูกอภิปรายไม่ไว้วางใจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดมีสิทธิเข้าชื่อขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี ญัตตินี้ต้องเสนอชื่อผู้สมควรดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนต่อไปไว้ด้วย เมื่อเสนอญัตติแล้วจะมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรมิได้ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันไม่ให้นายกรัฐมนตรีหลีกหนีการอภิปราย เว้นแต่จะมีการถอนญัตติหรือการลงมตินั้นไม่ได้เสียงครบ หากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลงมติไม่ไว้วางใจ นายกรัฐมนตรีต้องพ้นจากตำแหน่ง และมีผลให้คณะรัฐมนตรีสิ้นสุดลงทั้งคณะด้วย

การรักษาราชการแทน

[ດັດແກ້]

ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 41 กำหนดให้รองนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการ ถ้ามีรองนายกรัฐมนตรีหลายคนให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน[7]

ທີ່ທຳການແລະບ້ານພັກ

[ດັດແກ້]

นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยปฏิบัติหน้าที่ ณ ทำเนียบรัฐบาล ซึ่งเป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 27 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา

สำหรับบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย คือ บ้านพิษณุโลก ซึ่งมีสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ออกแบบและสร้างโดย มาริโอ ตามานโญ สถาปนิกประจำราชสำนักสยามชาวอิตาลี มีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน

ຮອງນາຍົກລັດຖະນົນຕີ

[ດັດແກ້]

รองนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ในการกำกับการบริหารราชการของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือหลายกระทรวงหรือทบวง ตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย รวมทั้งเป็นผู้รักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (เรียงตามลำดับรองนายกรัฐมนตรีดังนี้[8][9])

ຕຳແໜ່ງ​ ຊື່​ ພັກ ເລີ່ມຕົ້ນ ຕຳແໜ່ງ​ທີ່ສອງ
ຮອງນາຍົກລັດຖະນົນຕີ
ປະວິດ ວົງສຸວັນ
ພັກພະລັງປະຊາລັດ 10 ກໍລະກົດ ຄ.​ສ.​2019
ສົມຄິດ ຈາຕຸສີພິທັກ
ອິສະລະ
ວິສະນຸ ເຄືອງາມ​
ອິສະລະ
ຈຸຣິນ ລັກສະນະວິສິດ
ພັກປະຊາທິປັດ ລັດຖະມົນຕີ​ວ່າ​ການ​ກະຊວງພານິດ
ອນຸທິນ ຊານວີຣະກູນ
ພັກພູມໃຈໄທ ລັດຖະມົນຕີ​ວ່າ​ການ​ກະຊວງສາທາລະນະສຸກ

ລາຍຊື່ນາຍົກລັດຖະມົນຕີໄທ

[ດັດແກ້]

ອາດີດ​ນາຍົກລັດຖະມົນຕີທີ່ຍັງມີຊີວິຕຢູ່

[ດັດແກ້]

ปัจจุบันมีอดีตนายกรัฐมนตรีที่ยังมีชีวิตอยู่ 10 คน ได้แก่

ອ້າງອີງ

[ດັດແກ້]
  1. พระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. 2538/บัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่งข้าราชการการเมือง, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 เมษายน 2558
  2. พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2554/บัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 เมษายน 2558
  3. พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 เมษายน 2558
  4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 เมษายน 2558
  5. "ราชกิจจานุเบกษา ประกาศพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี , สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน 2562" (PDF). Archived from the original (PDF) on 2019-06-28. Retrieved 2020-01-12.
  6. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 Archived 2017-04-07 at the Wayback Machine, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 18 พฤษภาคม 2562
  7. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 เมษายน 2558
  8. คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 161/2562 เรื่อง มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรีฯ Archived 2019-07-24 at the Wayback Machine, สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, สืบค้นวันที่ 25 กรกฎาคม 2562
  9. คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 165/2562 เรื่อง มอบหมายและมอบอำนาจให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี Archived 2019-07-31 at the Wayback Machine, สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, สืบค้นวันที่ 1 สิงหาคม 2562