ປະເທດຈໍເຈຍ: Difference between revisions
No edit summary |
No edit summary |
||
ແຖວ 63: | ແຖວ 63: | ||
|footnotes = |
|footnotes = |
||
}} |
}} |
||
ປະເທດຈໍເຈຍ (ຈໍເຈຍ: საქართველო, romanized: sakartvelo; IPA: [sɑkʰɑrtʰvɛlɔ]) ເປັນປະເທດໃນພູມິພາກຄໍເຄຊັດກົງຈຸດຕັດລະຫວ່າງທະວີບเป็นประเทศในภูมิภาคคอเคซัสตรงจุดตัดของยุโรปตะวันออกและเอเชียตะวันตก มีอาณาเขตติดกับทะเลดำทางทิศตะวันตกทางทิศเหนือและทิศตะวันออกติดกับรัสเซียทางทิศใต้ติดกับตุรกีและอาร์เมเนียและทางตะวันออกเฉียงใต้ติดกับอาเซอร์ไบจาน เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือทบิลิซี จอร์เจียครอบคลุมพื้นที่ 69,700 ตารางกิโลเมตร (26,911 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 3.718 ล้านคน จอร์เจียเป็นสาธารณรัฐแบบรัฐสภาที่รวมกันโดยรัฐบาลได้รับการเลือกตั้งผ่านระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน |
|||
== ภูมิศาสตร์ == |
|||
;ที่ตั้ง |
|||
ทางตอนใต้ของเทือกเขาคอเคซัส |
|||
* ทิศเหนือ จรดพรมแดนรัสเซีย |
|||
* ทิศตะวันออก จรดพรมแดนอาเซอร์ไบจาน |
|||
* ทิศใต้จรดพรมแดนอาร์มีเนีย และตุรกี |
|||
* ทิศตะวันตก ติดชายฝั่งทะเลดำ |
|||
;พื้นที่ |
|||
69,700 ตารางกิโลเมตร หรือ 26,911 ตารางไมล์ ความหนาแน่นของประชากร 206 คน ต่อตารางไมล์ |
|||
== การแบ่งเขตการปกครอง == |
|||
จอร์เจียแบ่งเป็น 9 จังหวัด (''mkhare'') จังหวัดต่าง ๆ แบ่งย่อยลงไปเป็นเขต (''raioni'') 2 สาธารณรัฐปกครองตนเอง (''avtonomiuri respublika'') และ 1 นคร (''k'alak'i'') * ดังนี้ |
|||
[[ไฟล์:Regions of Georgia (country).svg|350px]] |
|||
{| |
|||
| ''หมายเลข'' || ''เขตการปกครอง'' || ''เมืองหลวง'' |
|||
|----- |
|||
| 1 || [[สาธารณรัฐปกครองตนเองอับฮาเซีย]] (Abkhazia)|| [[ซูฮูมี]] (Sukhumi) |
|||
|----- |
|||
| 2 || [[จังหวัดซาเมเกรลอ-เซมอสวาเนตี|ซาเมเกรลอ-เซมอสวาเนตี]] (Samegrelo-Zemo Svaneti)|| [[ซุกดีดี]] (Zugdidi) |
|||
|----- |
|||
| 3 || [[จังหวัดกูเรีย|กูเรีย]] (Guria)|| [[โอซูร์เกตี]] (Ozurgeti) |
|||
|----- |
|||
| 4 || [[อัดจารา|สาธารณรัฐปกครองตนเองอัดจารา]] (Adjara) || [[บาตูมี]] (Batumi) |
|||
|----- |
|||
| 5 || [[จังหวัดราชา-เลชคูมีและคเวมอสวาเนตี|ราชา-เลชคูมีและคเวมอสวาเนตี]] || [[อัมบรอลาอูรี]] (Ambrolauri) |
|||
|----- |
|||
| || (Racha-Lechkhumi and Kvemo Svaneti) |
|||
|----- |
|||
| 6 || [[จังหวัดอีเมเรตี|อีเมเรตี]] (Imereti)|| [[คูไตซี]] (Kutaisi) |
|||
|----- |
|||
| 7 || [[จังหวัดซัมซเค-จาวาเคตี|ซัมซเค-จาวาเคตี]] (Samtskhe-Javakheti)|| [[อะคัลต์ซีเค]] (Akhaltsikhe) |
|||
|----- |
|||
| 8 || [[จังหวัดชีดาคาร์ตลี|ชีดาคาร์ตลี]] (Shida Kartli)|| [[กอรี]] (Gori) |
|||
|----- |
|||
| 9 || [[จังหวัดมซเคตา-มเตียเนตี|มซเคตา-มเตียเนตี]] (Mtskheta-Mtianeti)|| [[มซเคตา]] (Mtskheta) |
|||
|----- |
|||
| 10 || [[จังหวัดคเวมอคาร์ตลี|คเวมอคาร์ตลี]] (Kvemo Kartli)|| [[รุสตาวี]] (Rustavi) |
|||
|----- |
|||
| 11 || [[จังหวัดคาเคตี|คาเคตี]] (Kakheti)|| [[เตลาวี]] (Telavi) |
|||
|----- |
|||
| 12 || [[ทบิลิซี]]* (Tbilisi)|| |
|||
|----- |
|||
|} |
|||
[[ไฟล์:Svaneti, georgia.jpg|thumb|200px|จอร์เจียตะวันตกเฉียงเหนือ]] |
|||
== ประวัติศาสตร์ == |
|||
ประวัติศาสตร์ของจอร์เจียมียาวนานกว่า 2,500 ปี และภาษาจอร์เจียก็เป็นหนึ่งในภาษาเก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังมีการใช้อยู่ กรุงทบิลิซี (เมืองหลวง) ซึ่งมีอายุกว่า 1,500 ปี ตั้งอยู่ในหุบเขาที่งดงามซึ่งถูกแบ่งโดยแม่น้ำ Mtkvari พื้นที่ส่วนใหญ่ของจอร์เจียถูกยึดครองโดยเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับและมองโกล ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึง 18 ซึ่งเป็นเวลา 11 ศตวรรษที่จอร์เจียถูกปกครองโดยเผ่าต่าง ๆ ทั้งนี้ ในระหว่าง[[ศตวรรษที่ 11]] ถึง 12 จอร์เจียได้รับการคุ้มครองจากรัสเซีย ซึ่งในที่สุดรัสเซียก็ได้ผนวกจอร์เจียเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซีย และเนรเทศราชวงศ์จอร์เจียในปี ค.ศ. 1801 ([[พ.ศ. 2344]]) อย่างไรก็ตาม ยังมีประชาชนจอร์เจียจำนวนหนึ่งที่ต่อต้านการปกครองของรัสเซียเมื่อระบบกษัตริย์ (Tsarist) ของรัสเซียถูกโค่นลง สาธารณรัฐจอร์เจียก็ได้ก่อตั้งขึ้นในวันที่ [[26 พฤษภาคม]] ค.ศ. 1918 ([[พ.ศ. 2461]]) และภายในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1921 ([[พ.ศ. 2464]]) กองทัพแดง (Red Army) ของสหภาพโซเวียตก็ได้เข้ายึดครองจอร์เจียอีกครั้งหนึ่ง ทำให้จอร์เจียเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียต ในวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1991 ([[พ.ศ. 2534]]) สภาสูงสุดของสาธารณรัฐจอร์เจียก็ได้ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต |
|||
จอร์เจียประสบปัญหาความขัดแย้งด้านเชื้อชาติตั้งแต่ประกาศเอกราช และเพิ่งเริ่มมีเสถียรภาพในปี ค.ศ. 1995 ([[พ.ศ. 2538]]) อย่างไรก็ตาม ปัญหาคนพลัดถิ่นภายใน (internally displaced persons--IDPs) กว่า 230,000 คน ก็ยังคงเป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการการเมืองท้องถิ่น ปัญหาความขัดแย้งในดินแดนอับฮาเซียและเซาท์ออสซีเชียซึ่งต้องการแยกตัวออกจากจอร์เจียยังคงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน ยังคงต้องอาศัยกองกำลังสันติภาพของรัสเซีย และองค์การระหว่างประเทศในการรักษาสันติภาพ ซึ่งต้องมีการเจรจาอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน การเจรจาระหว่างจอร์เจียกับเซาท์ออสซีเชียมีความคืบหน้าพอสมควร ในขณะที่การเจรจาระหว่างจอร์เจียกับอับฮาเซียยังคงหาผลสรุปไม่ได้ |
|||
รัฐบาลจอร์เจียยึดมั่นในแนวทางการปฏิรูปเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับนโยบายของ IMF และ World Bank และให้ความสำคัญกับการบูรณะเส้นทางสายไหม ในฐานะที่เป็น Eurasian corridor โดยจะใช้ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของจอร์เจียเป็นสะพานเชื่อมการค้าระหว่างยุโรป และเอเชีย |
|||
== การเมือง == |
|||
จอร์เจียเป็นประเทศที่แยกตัวออกมาจากสหภาพโซเวียต (คอมมิวนิสต์) ช่วงหลัง[[สงครามเย็น]] ซึ่งก่อนที่จะแยกออกมานั้นมีชื่อประเทศว่า "[[สาธารณรัฐสังคมนิยมจอร์เจีย]]" แต่ก็ยังไม่ได้การรับรองจากประเทศใด ๆ ทำให้เกิดการต่อสู้เพื่อแบ่งแยกดินแดนจากคนต่างเชื้อสายในประเทศเดียวกันเองอยู่เสมอ ส่วนเมืองที่รัสเซียให้การสนับสนุนก็ได้ออกมาในรูปแบบของชนกลุ่มน้อยที่ต่อต้านรัฐบาลจอร์เจียซึ่งทางรัสเซียถือหางอยู่ จอร์เจียถือเป็นรัฐกันชนอีกแห่งที่จะสามารถเชื่อมต่อไปยังยุโรปตะวันออกได้ และในอดีตทางยุโรปตะวันออกก็ถือได้ว่าเป็นเขตอิทธิพลของระบอบ[[คอมมิวนิสต์]] ซึ่งถือได้ว่าเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาวยุโรปและโดยเฉพาะกับยุโรปตะวันตกเป็นอย่างมาก และเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2551 ก็ได้ประกาศสงครามและสู้รบอย่างเป็นทางการกับทางรัสเซียแล้ว เพราะเนื่องจากถูกทหารรัสเซียบุกเข้าโจมตีทางเซาท์ออสซีเชียก่อนหน้านี้เป็นเวลา 2 วันแล้ว |
|||
=== นโยบายต่างประเทศ === |
|||
แม้ว่าจอร์เจียจะเป็นประเทศเล็ก ๆ ในภูมิภาคคอเคซัส แต่ในบริบทของการช่วงชิงอิทธิพลทางการเมืองระหว่างประเทศมหาอำนาจ อาทิ รัสเซีย สหรัฐฯ รวมถึงสหภาพยุโรป จอร์เจียมีบทบาทสำคัญด้วยที่ตั้งที่ใกล้กับอิรัก อิหร่าน และตุรกี และยังตั้งอยู่บนเส้นทางขนส่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ Baku-Tbilisi-Ceyhan นอกจากนี้ ปัญหาการแบ่งแยกดินแดนภายในจอร์เจีย (ดินแดง Abkhazia, South Ossetia และ Adjara) ยังทำให้จอร์เจียสามารถเป็นเครื่องมือในการต่อรองระหว่างรัสเซียกับสหรัฐฯ และชาติตะวันตกอื่น ๆ ได้ |
|||
== ความสัมพันธ์ == |
|||
=== จอร์เจีย - ไทย === |
|||
ไทยได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับจอร์เจียเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1992 ฝ่ายไทยจึงมอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงมอสโกรับผิดชอบดูแลความสัมพันธ์ทวิภาคีไทย-จอร์เจีย ในขณะที่ฝ่ายจอร์เจียได้แต่งตั้งนาย Tatsuya Nishimura ดำรงตำแหน่งกงสุลกิตติมศักดิ์จอร์เจียประจำประเทศไทยเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 2003 |
|||
=== จอร์เจีย - รัสเซีย === |
|||
จอร์เจียมีความขัดแย้งกับรัสเซียสืบเนื่องมาจากปัญหาแบ่งแยกดินแดนในจอร์เจีย โดยจอร์เจียกล่าวหารัสเซียว่าเข้าไปแทรกแซงในปัญหาเหล่านี้ ทั้งในทางลับและโดยการส่งกองกำลังเข้าไป และยังกังวลว่ารัสเซียพยายามที่จะผนวกดินแดนจอร์เจียเข้าไปในดินแดนของตน ในขณะที่รัสเซียเห็นว่าดินแดนชายแดนของจอร์เจียบางแห่งเป็นฐานที่มั่นของกลุ่มก่อการร้ายเชชเนีย และเห็นว่ารัฐบาลจอร์เจียไม่ให้ความร่วมมือในการกวาดล้างกลุ่มกองโจรเชชเนียเหล่านี้ในดินแดนของตน |
|||
เมื่อวันที่ 6 ส.ค. 2007 เครื่องบินขับไล่ SU-25 จำนวน 2 ลำ ได้บินเข้าไปในน่านฟ้าจอร์เจีย พร้อมกับยิงขีปนาวุธ 1 ลูกไปที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ไม่ไกลจาก South Ossetia ทางการจอร์เจียเชื่อว่าเป็นการกระทำของรัสเซีย ส่วนทางฝ่ายรัสเซียปฏิเสธข้อกล่าวหาดังกล่าว และระบุว่ามีความเป็นไปได้ที่เครื่องบินขับไล่เป็นของจอร์เจียที่ต้องการยั่วยุให้เกิดความตึงเครียดขึ้นในพื้นที่ South Ossetia เพื่อโน้มน้าวให้สหภาพยุโรปและ NATO เห็นว่า รัสเซียเป็นภัยคุกคามต่อภูมิภาคและเข้ามาให้ความช่วยเหลือจอร์เจียในกรณีที่มีความขัดแย้งกับรัสเซีย |
|||
อย่างไรก็ดี ล่าสุด เมื่อวันที่ 13 ม.ค. 2551 ประธานาธิบดี Saakashvili ได้ให้สัมภาษณ์แก่รายการโทรทัศน์รัสเซีย ประกาศว่า “การมีความสัมพันธ์ฉันมิตรกับรัสเซียถือเป็นผลประโยชน์แก่จอร์เจีย” และเชื่อว่าการเข้าร่วม NATO ของจอร์เจียจะไม่ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์กับรัสเซีย นอกจากนี้ ยังให้ความเห็นของตนเกี่ยวกับการเมืองในบริบทโลกว่า จะสนับสนุนความสัมพันธ์กับทั้ง NATO และประเทศอื่น ๆ ทั้งตะวันออกและตะวันตก และเชื่อว่านโยบายต่างประเทศของจอร์เจียควรจะมีหลายมิติ |
|||
=== จอร์เจีย - สหรัฐอเมริกา === |
|||
จอร์เจียมีความร่วมมือทางวิชาการ (technical cooperation) กับสหรัฐฯ ตั้งแต่ปีค.ศ.2000 โดยสหรัฐฯ ได้ให้ความช่วยเหลือด้านยุทโธปกรณ์แก่จอร์เจีย อาทิ เฮลิคอปเตอร์ และหลังจากเหตุการณ์วินาศกรรมในสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ.2001 ความร่วมมือระหว่างสองประเทศก็เพิ่มขึ้นมาโดยตลอด |
|||
=== กองทัพ === |
|||
{{บทความหลัก|กองทัพจอร์เจีย}} |
|||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
=== กองทัพบก === |
|||
{{บทความหลัก|กองทัพบกจอร์เจีย}} |
|||
กองทัพเท ผู้นำ ชินะ รินโนะคุ |
|||
=== กองทัพอากาศ === |
|||
{{บทความหลัก|กองทัพอากาศจอร์เจีย}} |
|||
=== กองทัพเรือ === |
|||
{{บทความหลัก|กองทัพเรือจอร์เจีย}} |
|||
=== กองกำลังกึ่งทหาร === |
|||
{{โครง-ส่วน} |
|||
== เศรษฐกิจ == |
|||
เศรษฐกิจจอร์เจียมีแนวโน้มในทางที่ดีขึ้นในระยะหลังมานี้ โดยเฉพาะหลังจากการขึ้นสู่อำนาจของประธานาธิบดี Saakashvili ในปี 2546 เนื่องจากรัฐบาลมีเป้าหมายที่แน่วแน่ในการปฏิรูปเศรษฐกิจ โดยมีนโยบายและเครื่องมือสำคัญ ได้แก่ การใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจประเทศ การปฏิรูปภาษี (ตั้งแต่เดือนมกราคม 2548) ที่ลดอัตราภาษีลงเพื่อให้ประชาชนลดการหลบเลี่ยงภาษี กระตุ้นให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุนเพิ่ม และยังพัฒนาบรรยากาศการลงทุนในหมู่นักลงทุนต่างชาตินอกจากนี้ รัฐบาลยังประสบความสำเร็จในการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และในระยะหลังยังมีการลงทุนเพิ่มขึ้นในโครงการท่อขนส่งน้ำมัน Baku-Tbilisi-Ceyhan ซึ่งจะทำให้จอร์เจียเป็นเส้นทางผ่านสำคัญสำหรับการค้าและการลงทุนระหว่างภูมิภาคเอเชียและยุโรป |
|||
อย่างไรก็ดี ความยากจน ธุรกิจผิดกฎหมาย ตลาดมืด และการฉ้อราษฎร์บังหลวง ยังคงเป็นปัญหาสำคัญของจอร์เจีย ที่สืบทอดมาตั้งแต่สมัยประธานาธิบดี Shevardnadze ทั้งนี้ มีการประเมินว่า มีการดำเนินธุรกิจโดยมิได้ผ่านการลงทะเบียนของรัฐในจอร์เจียอยู่ถึงร้อยละ 30-50 |
|||
== ประชากร == |
|||
== ศาสนา == |
|||
นับถือ[[ศาสนาคริสต์]] นิกาย[[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]] 75% นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]] 11% อื่น ๆ 14% |
|||
== การศึกษา == |
|||
== กีฬา == |
|||
กีฬาที่นิยมในจอร์เจีย เช่น [[ฟุตบอล]] [[บาสเกตบอล]] [[รักบี้]] [[มวยปล้ำ]] [[ยูโด]] และ [[ยกน้ำหนัก]]ในอดีต จอร์เจียมีชื่อเสียงทางกีฬาทางกายภาพ |
|||
== ดูเพิ่ม == |
|||
* [[กากรา]] |
|||
*[[สงครามเซาท์ออสซีเชีย พ.ศ. 2551]] |
|||
== อ้างอิง == |
|||
{{รายการอ้างอิง|}} |
|||
{{เริ่มอ้างอิง}} |
|||
* [http://www.mfa.go.th/web/479.php?id=394 ประเทศจอร์เจีย] จากเว็บไซต์กระทรวงต่างประเทศ |
|||
{{จบอ้างอิง}} |
|||
;อัตชีวประวัติ |
|||
* Avalov, Zurab: ''Prisoedinenie Gruzii k Rossii'', Montvid, S.-Peterburg 1906 |
|||
* Gvosdev, Nikolas K.: ''Imperial policies and perspectives towards Georgia: 1760–1819'', Macmillan, Basingstoke 2000, ISBN 0-312-22990-9 |
|||
* Lang, David M.: ''The last years of the Georgian Monarchy: 1658–1832'', Columbia University Press, New York 1957 |
|||
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
|||
{{Sister project links}} |
|||
{{Commons category|Georgia}} |
|||
;รัฐบาล |
|||
* [http://www.president.gov.ge/index.php?lang_id=ENG ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจอร์เจีย] |
|||
* [http://www.government.gov.ge/index.php?lang_id=ENG&sec_id=1 รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐจอร์เจีย] |
|||
* [http://www.mfa.gov.ge/index.php?lang_id=ENG กระทรวงการต่างประเทศแห่งสาธารณรัฐจอร์เจีย] |
|||
* [http://www.tourism.gov.ge/ Department of Tourism and Resorts] |
|||
* [http://www.amcham.ge/ American Chamber of Commerce in Georgia] |
|||
* [https://www.cia.gov/library/publications/world-leaders-1/world-leaders-g/georgia.html Chief of State and Cabinet Members] |
|||
;ข้อมูลทั่วไป |
|||
* {{CIA World Factbook link|gg|Georgia}} |
|||
* [http://ucblibraries.colorado.edu/govpubs/for/georgia.htm Georgia] at ''UCB Libraries GovPubs'' |
|||
* {{dmoz|Regional/Asia/Georgia}} |
|||
* [http://www.bbc.co.uk/news/world-europe-17301647 Georgia profile] from the [[BBC News]] |
|||
* {{Wikiatlas|Georgia}} |
|||
* {{osmrelation-inline|28699}} |
|||
* [http://amsi.ge/ Association of Modern Scientific Investigation – (AMSI)] |
|||
;สื่อสารมวลชน |
|||
*[http://www.caucaz.com/home_eng/ Caucaz.com, South Caucasus online magazine] |
|||
*[http://civil.ge/ Civil Georgia, daily news about Georgia] |
|||
* [http://alertnet.org/db/crisisprofiles/GG_OSS.htm?v=in_detail Crisis profile, Georgia, Abkhazia, S. Ossetia] From [http://alertnet.org/ Reuters Alertnet] |
|||
* [http://georgiandaily.com/ Georgian Daily], all the latest news from Georgia and related to Georgia |
|||
* [http://translate.google.com/translate?hl=en&u=http%3A%2F%2Fwww.newsgeorgia.ru%2F NewsGeorgia] Google Translation in to English from the NewsGeorgia (Russian Language) site |
|||
* [http://www.georgiacaucasus.com/ GeorgiaCaucasus.com ] GeorgiaCaucasus.com – online info Magazine dedicated to Georgia and Caucasus |
|||
;อื่นๆ |
|||
* {{wikivoyage|Georgia (country)}} |
|||
{{เอเชีย}} |
|||
{{ยุโรป}} |
|||
[[หมวดหมู่:ประเทศจอร์เจีย| ]] |
|||
[[หมวดหมู่:สาธารณรัฐ|จ]] |
|||
[[หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2461]] |
|||
[[หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2534]] |
|||
[[หมวดหมู่:รัฐในอดีตสหภาพโซเวียต]] |
ລຸ້ນແກ້ໄຂເກົ່າເມື່ອ 06:22, 12 ກຸມພາ 2021
ສາທາລະນະລັດຈໍເຈຍ საქართველო
| |
---|---|
ເມືອງຫຼວງ ແລະ ເມືອງໃຫຍ່ທີ່ສຸດ | ທະບີລິຊີ |
ພາສາລັດຖະການ | ພາສາຈໍເຈຍ ອັບຮາຊຽນ [1] |
ການປົກຄອງ | ລັດດ່ຽວ ລະບົບລັດຖະສະພາ ສາທາລະນະລັດລັດຖະທຳມະນູນ |
ຊາໂລມ ຊູລາບິດວິລີ | |
ອາຊິວ ຕາລັກວັດເຊ່ | |
ອິລາຄຼີ ກາລີບັດວິລີ | |
ສະຖາປະນາຂຶ້ນ | |
• ໂຄນຊິດ ແລະສາທະລະນະລັດໄອບີເຣຍ | 1300 ກ່ອນປະຫວັດສາດ - ຄ.ສ. 580 |
ຄ.ສ. 786 - 1008 | |
9 ເມສາ 1991 | |
ປະຊາກອນ | |
• ຄ.ສ. 2020 ປະມານ | 3,716,858 (ບໍ່ລວມອັບຮາເຊຍແລະເຊົ້າອອສຊີເຊຍ) (129) |
• ສຳມະໂນປະຊາກອນ ຄ.ສ. 2014 | 3,713,804 |
GDP (ອຳນາດຊື້) | ຄ.ສ. 2019 (ປະມານ) |
• ລວມ | 46.05 ຕື້ໂດລາສະຫະລັດ (112) |
• ຕໍ່ຫົວ | 12,409 ໂດລາສະຫະລັດ (101) |
ຈີນີ (2018) | 36.4 ປານກາງ |
HDI (2020) | 0.812 ສູງຫຼາຍ · 61 |
ສະກຸນເງິນ | ລາຣີ (₾) (GEL) |
ເຂດເວລາ | UTC+4 (Georgia Time GET) |
ລະຫັດໂທລະສັບ | +995 |
ລະຫັດອິນເຕີເນັດ | .ge .გე |
ປະເທດຈໍເຈຍ (ຈໍເຈຍ: საქართველო, romanized: sakartvelo; IPA: [sɑkʰɑrtʰvɛlɔ]) ເປັນປະເທດໃນພູມິພາກຄໍເຄຊັດກົງຈຸດຕັດລະຫວ່າງທະວີບเป็นประเทศในภูมิภาคคอเคซัสตรงจุดตัดของยุโรปตะวันออกและเอเชียตะวันตก มีอาณาเขตติดกับทะเลดำทางทิศตะวันตกทางทิศเหนือและทิศตะวันออกติดกับรัสเซียทางทิศใต้ติดกับตุรกีและอาร์เมเนียและทางตะวันออกเฉียงใต้ติดกับอาเซอร์ไบจาน เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือทบิลิซี จอร์เจียครอบคลุมพื้นที่ 69,700 ตารางกิโลเมตร (26,911 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 3.718 ล้านคน จอร์เจียเป็นสาธารณรัฐแบบรัฐสภาที่รวมกันโดยรัฐบาลได้รับการเลือกตั้งผ่านระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน
ภูมิศาสตร์
- ที่ตั้ง
ทางตอนใต้ของเทือกเขาคอเคซัส
- ทิศเหนือ จรดพรมแดนรัสเซีย
- ทิศตะวันออก จรดพรมแดนอาเซอร์ไบจาน
- ทิศใต้จรดพรมแดนอาร์มีเนีย และตุรกี
- ทิศตะวันตก ติดชายฝั่งทะเลดำ
- พื้นที่
69,700 ตารางกิโลเมตร หรือ 26,911 ตารางไมล์ ความหนาแน่นของประชากร 206 คน ต่อตารางไมล์
การแบ่งเขตการปกครอง
จอร์เจียแบ่งเป็น 9 จังหวัด (mkhare) จังหวัดต่าง ๆ แบ่งย่อยลงไปเป็นเขต (raioni) 2 สาธารณรัฐปกครองตนเอง (avtonomiuri respublika) และ 1 นคร (k'alak'i) * ดังนี้
หมายเลข | เขตการปกครอง | เมืองหลวง |
1 | สาธารณรัฐปกครองตนเองอับฮาเซีย (Abkhazia) | ซูฮูมี (Sukhumi) |
2 | ซาเมเกรลอ-เซมอสวาเนตี (Samegrelo-Zemo Svaneti) | ซุกดีดี (Zugdidi) |
3 | กูเรีย (Guria) | โอซูร์เกตี (Ozurgeti) |
4 | สาธารณรัฐปกครองตนเองอัดจารา (Adjara) | บาตูมี (Batumi) |
5 | ราชา-เลชคูมีและคเวมอสวาเนตี | อัมบรอลาอูรี (Ambrolauri) |
(Racha-Lechkhumi and Kvemo Svaneti) | ||
6 | อีเมเรตี (Imereti) | คูไตซี (Kutaisi) |
7 | ซัมซเค-จาวาเคตี (Samtskhe-Javakheti) | อะคัลต์ซีเค (Akhaltsikhe) |
8 | ชีดาคาร์ตลี (Shida Kartli) | กอรี (Gori) |
9 | มซเคตา-มเตียเนตี (Mtskheta-Mtianeti) | มซเคตา (Mtskheta) |
10 | คเวมอคาร์ตลี (Kvemo Kartli) | รุสตาวี (Rustavi) |
11 | คาเคตี (Kakheti) | เตลาวี (Telavi) |
12 | ทบิลิซี* (Tbilisi) |
thumb|200px|จอร์เจียตะวันตกเฉียงเหนือ
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ของจอร์เจียมียาวนานกว่า 2,500 ปี และภาษาจอร์เจียก็เป็นหนึ่งในภาษาเก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังมีการใช้อยู่ กรุงทบิลิซี (เมืองหลวง) ซึ่งมีอายุกว่า 1,500 ปี ตั้งอยู่ในหุบเขาที่งดงามซึ่งถูกแบ่งโดยแม่น้ำ Mtkvari พื้นที่ส่วนใหญ่ของจอร์เจียถูกยึดครองโดยเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับและมองโกล ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึง 18 ซึ่งเป็นเวลา 11 ศตวรรษที่จอร์เจียถูกปกครองโดยเผ่าต่าง ๆ ทั้งนี้ ในระหว่างศตวรรษที่ 11 ถึง 12 จอร์เจียได้รับการคุ้มครองจากรัสเซีย ซึ่งในที่สุดรัสเซียก็ได้ผนวกจอร์เจียเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซีย และเนรเทศราชวงศ์จอร์เจียในปี ค.ศ. 1801 (พ.ศ. 2344) อย่างไรก็ตาม ยังมีประชาชนจอร์เจียจำนวนหนึ่งที่ต่อต้านการปกครองของรัสเซียเมื่อระบบกษัตริย์ (Tsarist) ของรัสเซียถูกโค่นลง สาธารณรัฐจอร์เจียก็ได้ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 (พ.ศ. 2461) และภายในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1921 (พ.ศ. 2464) กองทัพแดง (Red Army) ของสหภาพโซเวียตก็ได้เข้ายึดครองจอร์เจียอีกครั้งหนึ่ง ทำให้จอร์เจียเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียต ในวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) สภาสูงสุดของสาธารณรัฐจอร์เจียก็ได้ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต
จอร์เจียประสบปัญหาความขัดแย้งด้านเชื้อชาติตั้งแต่ประกาศเอกราช และเพิ่งเริ่มมีเสถียรภาพในปี ค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538) อย่างไรก็ตาม ปัญหาคนพลัดถิ่นภายใน (internally displaced persons--IDPs) กว่า 230,000 คน ก็ยังคงเป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการการเมืองท้องถิ่น ปัญหาความขัดแย้งในดินแดนอับฮาเซียและเซาท์ออสซีเชียซึ่งต้องการแยกตัวออกจากจอร์เจียยังคงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน ยังคงต้องอาศัยกองกำลังสันติภาพของรัสเซีย และองค์การระหว่างประเทศในการรักษาสันติภาพ ซึ่งต้องมีการเจรจาอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน การเจรจาระหว่างจอร์เจียกับเซาท์ออสซีเชียมีความคืบหน้าพอสมควร ในขณะที่การเจรจาระหว่างจอร์เจียกับอับฮาเซียยังคงหาผลสรุปไม่ได้
รัฐบาลจอร์เจียยึดมั่นในแนวทางการปฏิรูปเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับนโยบายของ IMF และ World Bank และให้ความสำคัญกับการบูรณะเส้นทางสายไหม ในฐานะที่เป็น Eurasian corridor โดยจะใช้ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของจอร์เจียเป็นสะพานเชื่อมการค้าระหว่างยุโรป และเอเชีย
การเมือง
จอร์เจียเป็นประเทศที่แยกตัวออกมาจากสหภาพโซเวียต (คอมมิวนิสต์) ช่วงหลังสงครามเย็น ซึ่งก่อนที่จะแยกออกมานั้นมีชื่อประเทศว่า "สาธารณรัฐสังคมนิยมจอร์เจีย" แต่ก็ยังไม่ได้การรับรองจากประเทศใด ๆ ทำให้เกิดการต่อสู้เพื่อแบ่งแยกดินแดนจากคนต่างเชื้อสายในประเทศเดียวกันเองอยู่เสมอ ส่วนเมืองที่รัสเซียให้การสนับสนุนก็ได้ออกมาในรูปแบบของชนกลุ่มน้อยที่ต่อต้านรัฐบาลจอร์เจียซึ่งทางรัสเซียถือหางอยู่ จอร์เจียถือเป็นรัฐกันชนอีกแห่งที่จะสามารถเชื่อมต่อไปยังยุโรปตะวันออกได้ และในอดีตทางยุโรปตะวันออกก็ถือได้ว่าเป็นเขตอิทธิพลของระบอบคอมมิวนิสต์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาวยุโรปและโดยเฉพาะกับยุโรปตะวันตกเป็นอย่างมาก และเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2551 ก็ได้ประกาศสงครามและสู้รบอย่างเป็นทางการกับทางรัสเซียแล้ว เพราะเนื่องจากถูกทหารรัสเซียบุกเข้าโจมตีทางเซาท์ออสซีเชียก่อนหน้านี้เป็นเวลา 2 วันแล้ว
นโยบายต่างประเทศ
แม้ว่าจอร์เจียจะเป็นประเทศเล็ก ๆ ในภูมิภาคคอเคซัส แต่ในบริบทของการช่วงชิงอิทธิพลทางการเมืองระหว่างประเทศมหาอำนาจ อาทิ รัสเซีย สหรัฐฯ รวมถึงสหภาพยุโรป จอร์เจียมีบทบาทสำคัญด้วยที่ตั้งที่ใกล้กับอิรัก อิหร่าน และตุรกี และยังตั้งอยู่บนเส้นทางขนส่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ Baku-Tbilisi-Ceyhan นอกจากนี้ ปัญหาการแบ่งแยกดินแดนภายในจอร์เจีย (ดินแดง Abkhazia, South Ossetia และ Adjara) ยังทำให้จอร์เจียสามารถเป็นเครื่องมือในการต่อรองระหว่างรัสเซียกับสหรัฐฯ และชาติตะวันตกอื่น ๆ ได้
ความสัมพันธ์
จอร์เจีย - ไทย
ไทยได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับจอร์เจียเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1992 ฝ่ายไทยจึงมอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงมอสโกรับผิดชอบดูแลความสัมพันธ์ทวิภาคีไทย-จอร์เจีย ในขณะที่ฝ่ายจอร์เจียได้แต่งตั้งนาย Tatsuya Nishimura ดำรงตำแหน่งกงสุลกิตติมศักดิ์จอร์เจียประจำประเทศไทยเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 2003
จอร์เจีย - รัสเซีย
จอร์เจียมีความขัดแย้งกับรัสเซียสืบเนื่องมาจากปัญหาแบ่งแยกดินแดนในจอร์เจีย โดยจอร์เจียกล่าวหารัสเซียว่าเข้าไปแทรกแซงในปัญหาเหล่านี้ ทั้งในทางลับและโดยการส่งกองกำลังเข้าไป และยังกังวลว่ารัสเซียพยายามที่จะผนวกดินแดนจอร์เจียเข้าไปในดินแดนของตน ในขณะที่รัสเซียเห็นว่าดินแดนชายแดนของจอร์เจียบางแห่งเป็นฐานที่มั่นของกลุ่มก่อการร้ายเชชเนีย และเห็นว่ารัฐบาลจอร์เจียไม่ให้ความร่วมมือในการกวาดล้างกลุ่มกองโจรเชชเนียเหล่านี้ในดินแดนของตน
เมื่อวันที่ 6 ส.ค. 2007 เครื่องบินขับไล่ SU-25 จำนวน 2 ลำ ได้บินเข้าไปในน่านฟ้าจอร์เจีย พร้อมกับยิงขีปนาวุธ 1 ลูกไปที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ไม่ไกลจาก South Ossetia ทางการจอร์เจียเชื่อว่าเป็นการกระทำของรัสเซีย ส่วนทางฝ่ายรัสเซียปฏิเสธข้อกล่าวหาดังกล่าว และระบุว่ามีความเป็นไปได้ที่เครื่องบินขับไล่เป็นของจอร์เจียที่ต้องการยั่วยุให้เกิดความตึงเครียดขึ้นในพื้นที่ South Ossetia เพื่อโน้มน้าวให้สหภาพยุโรปและ NATO เห็นว่า รัสเซียเป็นภัยคุกคามต่อภูมิภาคและเข้ามาให้ความช่วยเหลือจอร์เจียในกรณีที่มีความขัดแย้งกับรัสเซีย อย่างไรก็ดี ล่าสุด เมื่อวันที่ 13 ม.ค. 2551 ประธานาธิบดี Saakashvili ได้ให้สัมภาษณ์แก่รายการโทรทัศน์รัสเซีย ประกาศว่า “การมีความสัมพันธ์ฉันมิตรกับรัสเซียถือเป็นผลประโยชน์แก่จอร์เจีย” และเชื่อว่าการเข้าร่วม NATO ของจอร์เจียจะไม่ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์กับรัสเซีย นอกจากนี้ ยังให้ความเห็นของตนเกี่ยวกับการเมืองในบริบทโลกว่า จะสนับสนุนความสัมพันธ์กับทั้ง NATO และประเทศอื่น ๆ ทั้งตะวันออกและตะวันตก และเชื่อว่านโยบายต่างประเทศของจอร์เจียควรจะมีหลายมิติ
จอร์เจีย - สหรัฐอเมริกา
จอร์เจียมีความร่วมมือทางวิชาการ (technical cooperation) กับสหรัฐฯ ตั้งแต่ปีค.ศ.2000 โดยสหรัฐฯ ได้ให้ความช่วยเหลือด้านยุทโธปกรณ์แก่จอร์เจีย อาทิ เฮลิคอปเตอร์ และหลังจากเหตุการณ์วินาศกรรมในสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ.2001 ความร่วมมือระหว่างสองประเทศก็เพิ่มขึ้นมาโดยตลอด
กองทัพ
ແມ່ແບບ:บทความหลัก ແມ່ແບບ:โครง-ส่วน
กองทัพบก
ແມ່ແບບ:บทความหลัก กองทัพเท ผู้นำ ชินะ รินโนะคุ
กองทัพอากาศ
กองทัพเรือ
กองกำลังกึ่งทหาร
{{โครง-ส่วน}
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจจอร์เจียมีแนวโน้มในทางที่ดีขึ้นในระยะหลังมานี้ โดยเฉพาะหลังจากการขึ้นสู่อำนาจของประธานาธิบดี Saakashvili ในปี 2546 เนื่องจากรัฐบาลมีเป้าหมายที่แน่วแน่ในการปฏิรูปเศรษฐกิจ โดยมีนโยบายและเครื่องมือสำคัญ ได้แก่ การใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจประเทศ การปฏิรูปภาษี (ตั้งแต่เดือนมกราคม 2548) ที่ลดอัตราภาษีลงเพื่อให้ประชาชนลดการหลบเลี่ยงภาษี กระตุ้นให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุนเพิ่ม และยังพัฒนาบรรยากาศการลงทุนในหมู่นักลงทุนต่างชาตินอกจากนี้ รัฐบาลยังประสบความสำเร็จในการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และในระยะหลังยังมีการลงทุนเพิ่มขึ้นในโครงการท่อขนส่งน้ำมัน Baku-Tbilisi-Ceyhan ซึ่งจะทำให้จอร์เจียเป็นเส้นทางผ่านสำคัญสำหรับการค้าและการลงทุนระหว่างภูมิภาคเอเชียและยุโรป
อย่างไรก็ดี ความยากจน ธุรกิจผิดกฎหมาย ตลาดมืด และการฉ้อราษฎร์บังหลวง ยังคงเป็นปัญหาสำคัญของจอร์เจีย ที่สืบทอดมาตั้งแต่สมัยประธานาธิบดี Shevardnadze ทั้งนี้ มีการประเมินว่า มีการดำเนินธุรกิจโดยมิได้ผ่านการลงทะเบียนของรัฐในจอร์เจียอยู่ถึงร้อยละ 30-50
ประชากร
ศาสนา
นับถือศาสนาคริสต์ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ 75% นับถือศาสนาอิสลาม 11% อื่น ๆ 14%
การศึกษา
กีฬา
กีฬาที่นิยมในจอร์เจีย เช่น ฟุตบอล บาสเกตบอล รักบี้ มวยปล้ำ ยูโด และ ยกน้ำหนักในอดีต จอร์เจียมีชื่อเสียงทางกีฬาทางกายภาพ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
ແມ່ແບບ:รายการอ้างอิง ແມ່ແບບ:เริ่มอ้างอิง
- ประเทศจอร์เจีย จากเว็บไซต์กระทรวงต่างประเทศ
- อัตชีวประวัติ
- Avalov, Zurab: Prisoedinenie Gruzii k Rossii, Montvid, S.-Peterburg 1906
- Gvosdev, Nikolas K.: Imperial policies and perspectives towards Georgia: 1760–1819, Macmillan, Basingstoke 2000, ISBN 0-312-22990-9
- Lang, David M.: The last years of the Georgian Monarchy: 1658–1832, Columbia University Press, New York 1957
แหล่งข้อมูลอื่น
- รัฐบาล
- ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจอร์เจีย
- รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐจอร์เจีย
- กระทรวงการต่างประเทศแห่งสาธารณรัฐจอร์เจีย
- Department of Tourism and Resorts
- American Chamber of Commerce in Georgia
- Chief of State and Cabinet Members
- ข้อมูลทั่วไป
- Georgia entry at The World Factbook
- Georgia at UCB Libraries GovPubs
- ປະເທດຈໍເຈຍ ຢູ່ Open Directory Project
- Georgia profile from the BBC News
- Wikimedia Atlas ຂອງ Georgia
- ແມ່ແບບ:Osmrelation-inline
- Association of Modern Scientific Investigation – (AMSI)
- สื่อสารมวลชน
- Caucaz.com, South Caucasus online magazine
- Civil Georgia, daily news about Georgia
- Crisis profile, Georgia, Abkhazia, S. Ossetia From Reuters Alertnet
- Georgian Daily, all the latest news from Georgia and related to Georgia
- NewsGeorgia Google Translation in to English from the NewsGeorgia (Russian Language) site
- GeorgiaCaucasus.com GeorgiaCaucasus.com – online info Magazine dedicated to Georgia and Caucasus
- อื่นๆ
- Georgia (country) ຈາກ Wikivoyage
จ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2461 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2534 หมวดหมู่:รัฐในอดีตสหภาพโซเวียต