ກວ່າງໂຈວ
ກວ່າງໂຈວ 广州市 ແຄນຕັນ, ກວາງເຈົາ | |
---|---|
จากเข็มนาฬิกาจากภาพบนไปยังภาพกลาง: ทิวทัศน์ของกว่างโจวและแม่น้ำเพิร์ล (แม่น้ำจู), อนุสาวรีย์แพะห้าตัว, หอรำลึกซุน ยัตเซ็น, เจดีย์เจิ้นไห่, แคนตันทาวเวอร์, และโบสถ์พระหฤทัย | |
ຊື່: ນະຄອນແກະ, ນະຄອນແຫ່ງດອກໄມ້ | |
ที่ตั้งของนครกว่างโจวในมณฑลกวางตุ้ง | |
Lua error in Module:Location_map at line 522: Unable to find the specified location map definition: "Module:Location map/data/China Guangdong" does not exist. | |
ພິກັດ (ศูนย์ราชการมณฑลกวางตุ้ง): 23°07′55″N 113°15′58″E / 23.132°N 113.266°Eພິກັດພູມສາດ: 23°07′55″N 113°15′58″E / 23.132°N 113.266°E | |
ประเทศ | สาธารณรัฐประชาชนจีน |
มณฑล | กวางตุ้ง |
ศูนย์กลางการปกครอง | เขตเยว่ซิ่ว |
ການປົກຄອງ | |
• ປະເພດ | นครกึ่งมณฑล |
• เลขาธิการพรรค | จาง ชั่วฝู่ (张硕辅) |
• นายกเทศมนตรี | เวิน กั๋วฮุย (温国辉) |
ພື້ນທີ່[1] | |
• ນະຄອນລະດັບແຂວງແລະນະຄອນລະດັບຂັ້ນແຂວງ | 7,434.4 ຕລ.ກມ. ( | 2,900 ຕລ.ໄມລ໌)
• ເຂດເມືອງ | 3,843.43 ຕລ.ກມ. ( | 1,500 ຕລ.ໄມລ໌)
ຄວາມສູງ | 21 ແມັດ (68 ຟຸດ) |
ປະຊາກອນ (ปลาย ค.ศ. 2018)[2] | |
• ນະຄອນລະດັບແຂວງແລະນະຄອນລະດັບຂັ້ນແຂວງ | 14,904,400 ຄົນ |
• ຄວາມໜາແໜ້ນ | 2,000 ຄົນ/ຕລ.ກມ. (5,200 ຄົນ/ຕລ.ໄມລ໌) |
• ເຂດເມືອງ[3] | 11,547,491 ຄົນ |
• ລວມເຂດ[4] | 25,000,000 ຄົນ |
ເດມະນິມ | ชาวกวางตุ้ง, Cantonese |
ເຂດເວລາ | UTC+8 (เวลามาตรฐานจีน) |
รหัสไปรษณีย์ | 510000 |
ລະຫັດພື້ນທີ່ | (0)20 |
ລະຫັດ ISO 3166 | CN-GD-01 |
GDP (ราคาตลาด)[5] | ค.ศ. 2018 |
- ทั้งหมด | ¥2.3 ล้านล้าน $347 พันล้าน |
- ต่อหัว | ¥158,638 $23,963 |
- เติบโต | 6.5% |
ป้ายทะเบียนรถ | 粤A |
ดอกไม้ประจำนคร | งิ้ว |
นกประจำนคร | นกกะรางเสียงเพราะ |
ภาษา | ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน, ภาษาจีนกลาง |
ເວັບໄຊ | english |
ກວ່າງໂຈວ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
"กว่างโจว" เขียนด้วยอักษรจีนตัวย่อ (บน) และอักษรจีนตัวเต็ม (ล่าง) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ຈີນປະຍຸກ | 广州 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ຈີນດັ້ງເດີມ | 廣州 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Postal | Canton Kwangchow | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ຄວາມໝາຍໂດຍກົງ | "จังหวัด/รัฐที่กว้างขวาง" | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อย่อ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ຈີນ | 穗 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
กว่างโจว[6] กวางโจว หรือ กวางเจา[7] (จีนตัวเต็ม: 廣州, จีนตัวย่อ: 广州 Guǎngzhōu หรือ Gwong2 zau1 ในภาษาจีนกวางตุ้ง) เป็นเมืองหลวงของมณฑลกวางตุ้ง กว่างโจวเป็นเมืองใหญ่สุดทางภาคใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งเป็นมณฑลซึ่งเป็นที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้ง 3 แห่งของจีน คือ เซินเจิ้น จูไห่ และ ซัวเถา นอกจากนั้นเมืองกว่างโจวยังมีสำเนียงเฉพาะถิ่นที่ถือว่าเป็นมาตรฐานของ ฮ่องกง และมาเก๊า เรียกว่า สำเนียงกว่างโจวอีกด้วย
เมืองกว่างโจวตั้งอยู่ปากแม่น้ำจูเจียง และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความประวัติศาสตร์ ยาวนานกว่า 2,800 ปี เป็นจุดเริ่มของเส้นทางสายไหมทางทะเลในครั้งอดีต และยังเคยเป็นเมืองท่าเสรีแห่งแรกและแห่งเดียวที่เปิดต้อนรับชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อค้าขาย
กว่างโจวแม้จะเป็นศูนย์กลางในการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน แต่กว่างโจวยังมีภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่ยาวนานในรูปสถานที่สำคัญต่าง ๆ ปัจจุบันกว่างโจวมีบทบาทเป็นเมืองในเขตเศรษฐกิจการค้าที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในภาคใต้ของจีน และยังได้รับสถานะเป็นหนึ่งในสามเมืองท่าที่สำคัญที่สุดของจีน อีกทั้งยังเป็นเมืองที่มีผลผลิตโดยรวมมากที่สุดด้วย นอกจากนั้นยังมีการคมนาคมขนส่งที่สะดวก ทันสมัย มีระบบรถไฟใต้ดินครอบคลุมเมืองชั้นในทั้งหมด รวมทั้งด้านภูมิอากาศ อาหาร การดำรงชีวิต ตลอดจนความเป็นอยู่ก็มีความคล้ายคลึงกับประเทศไทย
กว่างโจวมีภาพลักษณ์ค่อนข้างแตกต่างจากเมืองทางเหนือ ซึ่งบรรยากาศที่เต็มไปด้วย "ราชการและเป็นทางการ" แต่ในกว่างโจวจะรู้สึกและรับรู้ได้ถึง "การค้าและความวุ่นวาย"
กว่างโจว เคยใช้เป็นสถานที่หลักที่ใช้จัดการแข่งขันกีฬา เอเชียนเกมส์ 2010 ที่จีนเป็นเจ้าภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2553
ເມືອງກວ່າງໂຈວຕັ້ງຢູ່ປາກນ້ຳຈູງຈຽງ(ແມ່ນ້ຳໄຂ່ມຸກ), ມີເນື້ອທີ່ປະມານ 3.843,43[1] ກິໂລຕາແມັດ, ມີປະຊາກອນ 11,547[2] ລ້ານກ່ວາຄົນມີປະຫວັດສາດຍາວນານມາກ່ວາ 2.800 ປີເປັນເມືອງຈຸດເລີ່ມຂອງເສັ້ນທາງສາຍໃຫມທາງທະເລຕັ້ງແຕ່ອະດີດ ແລະ ຍັງເຄີຍເປັນເມືອງທ່າເສລີແຫ່ງທຳອິດແຫ່ງດຽວທີ່ເປີດຕ້ອນຮັບຊາວຕາເວັນຕົກທີ່ ເຂົ້າມາຕິດຕໍ່ຊື້-ຂາຍ. ກວ່າງໂຈວແມ່ນຈະເປັນສູນກາງໃນການປະຕິຮູບເສດຖະກິດຍັງມີເບື້ອງຫລັງປະຫວັດສາດທີ່ຍາວນານມີສະຖານທີ່ສຳຄັນຕ່າງໆ. ປະຈຸ ບັນກວ່າງໂຈວມີບົດບາດເປັນເມືອງໃນເຂດເສດຖະກິດການຄ້າທີ່ມີຄວາມຈະເລີນຮຸ່ງເຮືອງຫລາຍທີ່ສຸດໃນພາກໃຕ້ຂອງ ສປຈີນ ແລະ ຍັງໄດ້ຮັບສະຖານະເປັນ ຫນຶ່ງໃນ 3 ເມືອງທີ່ສຳຄັນທີ່ສຸດຂອງຈີນ, ທັງເປັນເມືອງທີ່ມີຜົນຜະລິດໂດຍລວມຫລາຍທີ່ສຸດດ້ວຍ. ນອກນັ້ນຍັງມີການຄົມມະນາຄົມຂົນສົ່ງທີ່ສະດວກ, ທັນສະ ໄຫມ, ມີລະບົບລົດໄຟໃຕ້ດິນ,ຄວບຄຸມເມືອງຊັ້ນໃນທັງຫມົດລວມທັງດ້ານພູມອາກາດການດຳລົງຊີວິດຕະຫລອດຈົນຄວາມເປັນຢູ່ແມ່ນຄ້າຍກັບບ້ານເຮົາ, ນອກ ຈາກນັ້ນຊາວເມືອງກວ່າງໂຈວຍັງມີສຳນຽງພາສາປາກເວົ້ານິ້ມນວນອ່ອນຫວານແອບແຝງໄປດ້ວຍຮອຍຍິ້ມຕ້ອນຮັບແຂກບ້ານແຂກເມືອງ ຜູ້ມາຢ້ຽມຢາມອັນເປັນ ເອກະລັກສະເພາະຖິ່ນຂອງຄົນກວ່າງໂຈວເມືອງແຫ່ງສະເໜ່ດິນແດນມັງກອນທີ່ລືຊື່.
ອ້າງອີງ
[ດັດແກ້]- ↑ 1.0 1.1 土地面积、人口密度(2008年). Statistics Bureau of Guangzhou. Archived from the original on 2015-03-23. Retrieved 2010-02-08. Cite error: Invalid
<ref>
tag; name "guangzhoustatarea" defined multiple times with different content - ↑ 2.0 2.1 广州常住人口去年末超1490万 (in Chinese (China)). Archived from the original on 2019-02-16. Retrieved 2019-03-16. Cite error: Invalid
<ref>
tag; name "gzdaily2014" defined multiple times with different content - ↑ 统计年鉴2014 [Statistical Yearbook 2014] (in ຈີນ). Statistics Bureau of Guangzhou. 7 April 2015. Archived from the original on 14 December 2009. Retrieved 1 May 2015.
- ↑ OECD Urban Policy Reviews: China 2015, OECD READ edition. OECD iLibrary. OECD Urban Policy Reviews (in ອັງກິດ). OECD. 18 April 2015. p. 37. doi:10.1787/9789264230040-en. ISBN 9789264230033. ISSN 2306-9341. Archived from the original on 27 March 2017.Linked from the OECD here [1] Archived 2017-12-09 at the Wayback Machine
- ↑ 深圳GDP超广州,不过广州也不用慌 [The 2016 Guangzhou Municipal National Economic and Social Development Statistics Bulletin] (in ຈີນແບບຮຽບງ່າຍ). Baijiahao.baidu.com. January 15, 2018. Archived from the original on 2018-02-05. Retrieved 2017-11-11.
- ↑ "MapMachine". Maps.nationalgeographic.com. Retrieved 2010-05-06.
- ↑ "Guangzhou (China)". Encyclopædia Britannica. Accessed 12 September 2010.
- Pages with script errors
- Pages with non-numeric formatnum arguments
- Pages with reference errors
- CS1 uses ຈີນ-language script (zh)
- CS1 Chinese (China)-language sources (zh-cn)
- CS1 ຈີນ-language sources (zh)
- CS1 ອັງກິດ-language sources (en)
- Webarchive template wayback links
- CS1 ຈີນແບບຮຽບງ່າຍ-language sources (zh-hans)
- Pages using multiple image with auto scaled images
- Coordinates on Wikidata
- Pages with bad rounding precision
- Articles containing Chinese-language text
- Pages with maps